วันอาทิตย์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

การ Digitize และการนำเข้าข้อมูลด้วยค่าพิกัด XY





การ Digitize และการนำเข้าข้อมูลด้วยค่าพิกัด XY

รายวิชา 8761359-59 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ขั้นแนะนำ
(Introduction to Geographic Information System)
ภาคเรียนที่ปีการศึกษา 2560
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา


เสนอ



ผศ.ดร.ณรงค์  พลีรักษ์



อ.พิชิตพร  ผลเกิดดี

จัดทำโดย




นายพรพิทักษ์ สังขาราม รหัสนิสิต 59170020



นางสาวมัณฑนา หวานสนิท รหัสนิสิต 59170134




นางสาวกรวรรณ วงศ์ธุวนนท์ รหัสนิสิต 59170165



นางสาวเสาวลักษณ์ งามผล รหัสนิสิต 59170218



นางสาวศกลวรรณ กลิ่นจันทร์ รหัสนิสิต 59170209
กลุ่ม 1

การ Digitize และการนำเข้าข้อมูลด้วยค่าพิกัด XY





วิธีการนำเข้าพิกัด X Y
1.เปิดโปรแกรม Excel > File > Open > เลือกไฟล์ที่ต้องการ > Open




2.เราจะทำการ Save File เป็น 2 นามสกุล โดยไป File > Save As > เลือก Folder ที่ต้องการจัดเก็บ > เปลี่ยนชื่อตามต้องการ เลือก Save as type เป็น Excel Workbook > กด Save > Save อีกครั้ง เลือก Save as type เป็น Text (Tab delimited) > กดปิดโปรแกรม Excel ไปได้เลย


3.เปิดโปรแกรม ArcMap > Catalog > กด Connect To Folder (วงกลมสีแดง) > เลือก Folder ที่ทำการ Save ไว้ > กด OK


4.ลากไฟล์ที่ทำการ Save เป็นนามสกุล txt. ไปที่ Display Area


5.ทำการแปลงข้อมูล Excel เป็นข้อมูลจุด > คลิกขวาที่ข้อมูล > Display XY Data 



6.กด Edit > Projected Coordinate Systems > UTM > WGS 1984 > Northern Hemisphere > Zone 47N > OK



7.ทำการ Export File ให้เป็น Shapefile > คลิกขวาที่ สำรวจเอทีเอ็มรอบมอ2 > Data > Export Data



8.คลิกที่แฟ้มสีเหลือง > Saveใน Folder ที่สร้างไว้ในตอนแรก โดยเปลี่ยนชื่อเป็น สำรวจเอทีเอ็มรอบมอ3 > เลือก Save as type เป็น Shapefile > Save เราก็จะได้ข้อมูลจุด XY ที่เป็น Shapefile


วิธีการ Digitize
1.ขั้นแรกให้เรา Remove ข้อมูลทั้งหมดเมื่อสักครู่นี้ออกไปให้หมด โดยที่คลิกขวาที่ข้อมูล > Remove


2. ไปที่ Catalog > เปิดไฟล์ BUUMAP_NEW > ลากไฟล์แผนที่มหาวิทยาลัยบูรพา.tif ไปที่ Display Area


3.ทำการสร้าง Shapefile เพื่อเก็บข้อมูลการดิจิไทซ์ > คลิกขวาที่ Folder BUUMAP_NEW > New > Shapefile



 4.ที่ช่อง Name ให้ตั้งชื่อว่าอาคาร > ช่อง Feature Type ให้เลือก Polygon > กด Edit > Projected Coordinate Systems > UTM > WGS 1984 > Northern Hemisphere > Zone 47N > OK



5.จากนั้นให้เราสร้าง Feature > คลิกขวาที่อาคาร > Open Attribute Table > Table Options > Add field > ที่ช่อง Name ให้ตั้งชื่อว่า Name > ช่อง Type ให้เลือก Text > OK



6.เมื่อทำการดิจิไทซ์ ให้คลิกคำสั่ง Editor > Start Editing > Continue > Editor > Editing Windows > Create Features



7.คลิกซ้ายที่อาคารด้านขวามือ จะปรากฎลูกศรเป็นบวก        > จากนั้นเริ่มทำการดิจิไทซ์ > คลิกซ้ายครอบพื้นที่อาคารไปเรื่อยๆ เมื่อครอบอาคารทั้งหมดเสร็จให้ Double คลิก > ใส่ชื่ออาคารในช่อง Name ที่ Table


8.เมื่อทำการดิจิไทซ์ข้อมูลอาคารเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ Editor > Save Edits > Stop Editing > จากนั้นปิดหน้าต่าง Table ได้เลย


9.ต่อไปเราจะสร้าง Shapefile เพื่อเก็บข้อมูลถนน > คลิกขวาที่ Folder BUUMAP_NEW > New > Shapefile >      ที่ช่อง Name ให้ตั้งชื่อว่าถนน > ช่อง Feature Type ให้เลือก Polyline > กด Edit > Projected Coordinate Systems > UTM > WGS 1984 > Northern Hemisphere > Zone 47N > OK



10.ทำการดิจิไทซ์ ให้คลิกคำสั่ง Editor > Start Editing > Continue > Editor > Editing Windows > Create Features > เริ่มทำการดิจิไทซ์ถนน


11.เมื่อทำการดิจิไทซ์ข้อมูลถนนเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ Editor > Save Edits > Stop Editing



12.ต่อไปเราจะสร้าง Shapefile เพื่อเก็บข้อมูลวงเวียน > คลิกขวาที่ Folder BUUMAP_NEW > New > Shapefile > ที่ช่อง Name ให้ตั้งชื่อว่าวงเวียน > ช่อง Feature Type ให้เลือก Point > กด Edit > Projected Coordinate Systems > UTM > WGS 1984 > Northern Hemisphere > Zone 47N > OK



13.ทำการดิจิไทซ์ ให้คลิกคำสั่ง Editor > Start Editing > Continue > Editor > Editing Windows > Create Features > เริ่มทำการดิจิไทซ์วงเวียน > เมื่อทำการดิจิไทซ์ข้อมูลถนนเสร็จแล้ว ให้คลิกที่ Editor > Save Edits > Stop Editing



14.เมื่อเราทำการดิจิไทซ์ข้อมูลแผนที่เรียบร้อยแล้ว ก็จะเป็นการเสร็จสิ้นการดิจิไทซ์และการนำเข้าข้อมูลด้วยค่าพิกัด XY รวมถึงการสร้าง Shapefild




การ Digitize และการนำเข้าข้อมูลด้วยค่าพิกัด XY

การ Digitize และการนำเข้าข้อมูลด้วยค่าพิกัด XY รายวิชา  8761359-59  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ขั้นแนะนำ (Introduction to Geogr...